Zusammenfassung der Ressource
หมวด 4
การควบคุมมลพิษ
- ส่วนที่ 1
คณะกรรมการควบคุมมลพิษ
- อำนาจและหน้าที่
- 1. เสนอแผนปฏิบัติการเพื่อป้องกันหรือแก้ไขอันตรายจากมลพิษ
ต่อคณะกรรมการ สวล.แห่งชาติ
- 2. เสนอความเห็นแก้ไข ปรับปรุง เพิ่มเติม กฎหมาย ที่เกี่ยวกับการควบคุม
ป้องกัน ลด ขจัดมลพิษ ต่อ คณะกรรมการการ สวล.ชาติ
- 3. เสนอความเห็นเกี่ยวกับการกำหนดมาตรการ
ส่งเสริมด้านภาษีและกองทุนของเอกชน เกี่ยวกับการควบคุมมลพิษ
+การ สส รษฯ ต่อ คณะกรรมการ สวล ชาติ
- 4. เสนอการกำหนดอัตราค่าบริการ สำหรับระบบบำน้ำเสียรวม
หรือระบบกำจัดของเสียรวมของราชการ ต่อ คณะกรรมการ สวล.ชาติ
- 5. ให้คำแนะนำแก่รัฐมนตรี
"เรื่องการกำหนดมาตรฐานควบคุมมลพิษจากแหล่งกำเนิด"
- 6. ให้คำแนะนำแก่รัฐมนตรี
"เรื่องการกำหนดประเภทของแหล่งกำเนิดมลพิษ"
- 7. ให้คำแนะนำในการออกกฎกระทรวง
"กำหนดชนิดและประเภทของของเสียอันตราย"
- 8. ประสานงาน ราชการ+รัฐวิสาหกิจ+เอกชน
เพื่อควบคุม ลด หรือขจัดมลพิษ
- 9. ทำ "รายงานสถานการณ์มลพิษ"
เสนอคณะกรรมการ สวล.ชาติ ปีละ1ครั้ง
- 10. พิจารณาวินิจฉัยการคัดค้านคำสั่ง
เจ้าพนักงานควบคุมมลพิษ
- 11. ปฏิบัติตามกฎหมายที่ได้ให้มีการรับผิดชอบ
- 12. ปฎิบัติตามที่คณะกรรมการ สวล. ชาติ มอบหมาย
- ประกอบด้วย
- ปลัดกระทรวงทรัพฯ [ประธาน]
- อธิบดีกรมการปกครอง
- อธิบดีกรมตำรวจ
- อธิบดีกรมการขนส่งทางบก
- อธิบดีกรมเจ้าท่า
- อธิบดีกรมโยธาและผังเมือง
- อธิบดีกรมอุตสาหกรรมพื้นฐานและการเหมืองแร่
- อธิบดีกรมโรงงานอุตสาหกรม
- อธิบดีกรมอนามัย
- อธิบดีกรมวิชาการเกษตร
- อธิบดีกรมส่งเสริมคุณภาพ
สวล
- เลขา สผ.
- ปลัด กทม.
- ผู้ทรงฯ 5 คน [คณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแต่งตั้ง]
- อธิบดีกรม คพ. [เลขาธิการ]
- ส่วนที่ 2
มาตรฐานควบคุมมลพิษจากแหล่งกำเนิด
- รัฐมนตรี [ประกาศ] [ม.55]
- คณะกรรมการควบคุมมลพิษ [แนะนำ]
- คณะกรรมการ สวล. [เห็นชอบ]
- ถ้าค่ามาตรฐานของกฎหมายอื่นต่ำกว่าให้ปรับแก้เป็นไปตามมาตรฐานนี้ซะ
หรือถ้าทำไม่ได้ ให้ คณะกรรมการ สวล.ชาติ ชี้ขาด
- กฎหมายอื่นให้ส่วนราชการใดกำหนดมาตรฐานควบคุมมลพิษแล้วไม่ทำ
ให้รัฐมนตรีทำเลย
- ส่วนที่ 3
เขตควบคุมมลพิษ
- ท้องที่ที่มีปัญหามลพิษมีแนวโน้มที่ร้ายแรงถึงขนาดเป็นอันตรายต่อสุขภาพอนามัยของ
ปชช. หรืออาจก่อให้เกิดผลกระทบเสียหายต่อคุณภาพสิ่งแวดล้อม [ม.59]
- เจ้าพนักงานท้องถิ่น [จัดทำ]
เจ้าพนักงานควบคุมมลพิษ [แนะนำและช่วยเหลือ]
"แผนปฏิบัติการเพื่อลดและขจัดมลพิษ " เสนอต่อผู้ว่า
เพื่อเอาไปรวมกับ
"แผนปฏิบัติการเพื่อการจัดการคุณภาพ สวล.จังหวัด"
- วิธีทำแผน [ม.60]
- 1. สำรวจ เก็บข้อมูล
เกี่ยวกับแหล่งกำเนิดมลพิษในเขตฯ
- 2. จัดทำบัญชี แสดงจำนวน/
ประเภท /ขนาดขอลแหล่งกำเนิด
- 3. ศึกษา วิเคราะห์ ประเมินสถานภาพ ขอบเขตความรุนแรงของปัญหา
และผลกระทบต่อคุณภาพ สวล. เพื่อกำหนดมาตรการที่เหมาะ
- แผนฯ จะต้องเสนอประมาณการ
/คำขอจัดสรรเงิยงบประมาณแผ่านดิน
และเงินกองทุนสำหรับก่อสร้าง+ดำเนินการ
(เพื่อให้มีระบบบำบัดน้ำเสียรวม
หรือระบบกำจัดของเสียรวม)
- หาที่ดินไม่ได้ ให้จัดหาที่ดินเอกชน
- ผู้ว่า [คนดูแล]
ถ้าท้องถิ่นไม่ทำตามเวลากำหนด
ผู้ว่าต้องทำแทน
- ส่วนที่ 4
มลพิษทางอากาศและเสียง
- ยานพาหนะที่ใช้ต้องไม่ก่อมลพิษ
[เกินมาตรฐานควบคุมมลพิษจากแหล่งกำเนิด ม.55]
- หากเกิน พนักงานเจ้าหน้าที่ มีอำนาจสั่ง
"ห้ามใช้เด็ดขาด" "ห้ามใช้ชั่วคราว"
- รัฐมนตรี [ออกประกาศ]
คณะกรรมการควบคุมมลพิษ [แนะนำ]
- กำหนดประเภทของแหล่งกำเนิดมลพิษ
- เจ้าของแหล่งกำเนิดฯต้องมี ระบบบำบัดอากาศเสีย
หรืออุปกรณ์ที่ควบคุม กำจัด ลด หรือขจัดมลพิษ
- ส่วนที่ 5
มลพิษทางน้ำ
- รัฐมนตรี [ออกประกาศ]
คณะกรรมการควบคุมมลพิษ [แนะนำ]
- เจ้าของแหล่งมลพิษ ต้องติดตั้งระบบบำบัด
เจ้าพนักงานควบคุมมลพิษอาจให้มีผู้ควบคุมการดำเนินงาน
หรือหากมีระบบอยู่ต้องแจ้งเพื่อแก้ไขปรับปรุงต่อไป
- หากเจ้าของไม่มีระบบบำบัด หรือไม่สร้าง
ต้องมีหน้าที่จัดส่งน้ำเสีย และเสียค่าบริการ
ที่ระบบบำบัดน้ำเสียรวมในเขตตน
- ทางราชการ ไม่มีระบบบำบัด
แต่มีผู้รับจ้างให้บริการ เจ้าของส่งกำจัด
ตามที่เจ้าพนักงานท้องถิ่นกำหนด
- ราชการไม่มีระบบบำบัด ไม่มีผู้รับจ้าง
เจ้าพนักงานท้องถิ่นกำหนดวิธีการชั่วคราวจนกว่าจะสร้าง
- ชั่วคราว รวมถึง การรวบรวม การขนส่ง
การจัดส่งไปบำบัดของราชการเขตอื่น/หรือให้ผู้รับจ้างเขตอื่นเข้ามาชั่วคราว/
หรือให้ผู้มีใบอนุญาตรับจ้างนั้นรวบรวมเพื่อขนไปบำบัดในเขตอื่น
- ส่วนที่ 6
มลพิษอื่นและของเสียอันตราย
- การป้องกัน+ควบคุมมลพิษ
- จากการทำเหมือง บนบก/ในน้ำ
- จากการสำรวจ ขุดเจาะน้ำมัน ก๊าซธรรมชาติ และพวก HC
- การปล่อยทิ้งน้ำมันและการทิ้งเทของเสีย จากเรือเดินทะเล เรือขนน้ำมัน other
- กรณีไม่มีกฎหมายบังคับ
- รัฐมนตรี [ประกาศ]
คณะกรรมการสิ่งแวดล้อม [ให้คำแนะนำ]
- กำหนดชนิด +ประเภทของของเสียอันตราย
- จากการผลิต/การใช้สารเคมี/วัตถุอันตราย ในกระบวนการทางอุตฯ เกษตรกรรม สาสุข
- กำหนดหลักเกณฑ์/ มาตรการ/วิธี
- เพื่อควบคุมการเก็บ รวบรวม รักษาความปลอดภัย การขนส่งเคลื่อนย้าย การนำเข้ามา การส่งออก การจัดการ บำบัด กำจัด
- ส่วนที่ 7
การตรวจสอบและควบคุม
- เจ้าของแหล่งมลพิษ ที่มีระบบบำบัด
ต้องมีหน้าที่เก็บสถิติข้อมูลรายวัน
เสนอต่อเจ้าพนง.ท้องถิ่น เดือนละครั้ง
- เจ้าพนง.ท้องถิ่นรวบรวมรายงานส่งให้เจ้าพนง.ควบคุมมลพิษ
เดือนละครั้ง
- อำนาจเจ้าพนักงานควบคุมมลพิษ
- 1. เข้าไปตรวจสอบสภาพการทำงานระบบ
เวลาทำงาน หรือดูพระอาทิตย์
- 2. ออกคำสั่งใหม่การแก้ไขปรับปรุง
ถ้าเป็นโรงงานก้แจ้ง เจ้าพนง.ตามกฏหมายโรงงาน
- 3. ออกคำสั่งเป็นหนังสือปรับ
ถ้าเป็นโรงงาน ก็เหมือนข้อ 2
- 4. ออกคำสั่งเป็นหนังสือ ให้หยุดหรือปิด
เพิกถอนใบอนุญาต หากมีการฝ่าฝืน
- ถ้าไม่พอใจคัดค้านต่อ
กณะกรรมการควบคุมมลพิษ ภายใน 30 วัน
- ไม่เห็นด้วยกับคำวินิจฉัย
ให้ยื่นอุทธรณ์ต่อรัฐมนตรี ใน 30 วัน
- คำวินิจฉัยรัฐมนตรี เป็นที่สุด
- ส่วนที่ 8
ค่าบริการและค่าปรับ
- คณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ [กำหนดค่าบริการ]
คณะกรรมการควบคุมมลพิษ [แนะนำ]
- ประกาศในพระราชกิจจานุเบกษา
- ค่าบริการอาจต่างกันในแต่ละที่
- บ้านเรือนได้รับการยกเว้น
- ถ้า เจ้าของแหล่งมลพิษไม่ส่งนำ้เสีย ของเสีย
ไปบำบัดและลักลอบปล่อยทิ้งนอกที่ตั้ง
/ส่งน้ำเสียบำบัดแล้วไม่จ่ายตัง ปรับ 4 เท่าของอัตราบริการ
- มีแหล่งบำบัดแต่ลักลอบส่งเข้าของราชการ ปรับ 4 เท่า
ของรายจ่ายรายวันของการเปิดเครื่องทำงานในระบบของตนเอง
- เจ้าพนักงานท้องถิ่น หรือพนักงานเจ้าหน้าที่ของระบบบำบัด
จัดเก็บค่าบริการ ค่าปรับ และเรียกร้องค่าเสียหาย
- ค่าบริการ/ค่าปรับ หักส่งเข้ากองทุนตามอัตราส่วนที่กรรมการกองทุนกำหนด
ที่เหลือเป็นค่าใช้จ่ายสำหรับการดำเนินการบำรุง รักษา