Zusammenfassung der Ressource
หลีกเลี่ยงความรุนแรง
- ความหมายของความรุนแรง
- องค์กรอนามัยโลก (World Health Organization, 2007 ) ได้นิยามความรุนแรง
(Violence) หมายถึง การจงใจใช้กำลัง หรืออำนาจทางกายเพื่อความข่มขู่
หรือกระทำต่อตนเอง ต่อผู้อื่น ต่อกลุ่มบุคคลอื่น หรือชุมชน
ซึ่งมีผลทำให้เกิดหรือมีแนวโน้มที่จะมีผลให้เกิดการบาดเจ็บ ตาย
หรือเป็นอันตรายต่อจิตใจ หรือเป็นการยับยั้งการเจริญงอกงาม หรือการกีดกั้น
หรือปิดกั้นทำให้สูญเสียสิทธิบางประการ และขาดการได้รับในสิ่งที่สมควรจะได้รับ
ซึ่งพฤติกรรมความรุนแรงที่แสดงออมานั้น ส่งผลทางด้านลบทั้งต่อตนเองและต่อผู้อื่น
- ประเภทของความรุนแรง
- 1. ความรุนแรงต่อตนเอง
(Self - directed
Violence)
- 1.1 พฤติกรรมการฆ่าตัวตาย รวมทั้งการคิดฆ่าตัวตาย
- 1.2 พฤติกรรมการทำร้ายตนเอง
- 2. ความรุนแรงระหว่างบุคคล
(Interpersonal Violence)
- 2.1 ความรุนแรงในครอบครัว
- 2.2 ความรุนแรงในสังคม
- 3. ความรุนแรงระหว่างกลุ่ม
(Collective Violence)
- 3.1 ความรุนแรงทางสังคม
- 3.2 ความรุนแรงทางการเมือง
- 3.3 ความรุนแรงทางเศรษฐกิจ
- ลักษณะของความรุนแรง
- 1. ความรุนแรงทางร่างกาย
- การได้รับบาดเจ็บโดยการกระทำความรุนแรง
- 2. ความรุนแรงทางจิตใจ
- การทำร้ายจิตใจ
- 3. ความรุนแรงทางเพศ
- การกระทำใดๆ ที่มีวัตถุประสงค์เพื่อใช้ผู้กระทำเป็นเครื่องตอบสนองความต้องการ
- 4.
ความรุนแรงที่ก่อให้เกิดอความสูญเสีย
หรือการละเลย/ทอดทิ้ง
- การไม่ได้รับการดูแลเอาใจใส่
- ปัจจัยที่มีผลต่อความรุนแรงของคนไทย
- 1. ปัจจัยด้านพันธุกรรมและร่างกาย
- 2. ความผิดปกติของระบบประสาท
- 3. ปัจจัยด้านบุคคลิกภาพ
และจิตพยาธิสภาพ
- 4. ปัจจัยด้านพัฒนาและอายุ
- 5. เพศ
- 6. สุราและสารเสพติด
- 7. ปัจจัยด้านจิตสังคม
- สาเหตุของการใช้ความรุนแรง
- 1. ลักษณะส่วนตัวของผู้กระทำความรุนแรง
- 2. ทัศนคติ ค่านิยม และความเชื่อผิดๆ
ของผู้กระทำความรุนแรง
- 3. สังคมและสิ่งแวดล้อมที่เอื้ออำนวยให้เกิดความรุนแรง
เช่น สื่อต่างๆ
- ผลกระทบของความรุนแรง
- 1. ด้านร่างกาย ทำให้ร่างกายได้รับบาดเจ็บ ทุพพลภาพ
พิการหรือเสียชีวิต
- 2. ด้าจิตใจ เสียใจ ซึมเศร้า รู้สึกตนเองไร้ค่า โกรธ อับอาย เครียด
วิตกกังวล และทำร้ายตัวเอง
- 3. ด้านสังคม ทำให้สังคมสูญเสียทรัพยากรต่างๆ โดยเฉพาะทรัพยากรบุคคล
ในการพัฒนาสังคม
- แนวทางป้องกันพฤติกรรมความรุนแรง
- 1. การป้องกันด้านตัวบุคคล
- 2. การป้องกันทางด้านความสัมพันธ์ของบุคคล
- 3. การป้องกันทางด้านชุมชน
- 4. การป้องกันทางด้านสังคม
- ทักษะการแก้ไขปัญหาเพื่อป้องกัน
การนำไปสู่ความรุนแรง
- ทักษะการตัดสินใจแก้ปัญหา
- 6. ตัดสินใจเลือกทางที่ดีที่สุดและเหมาะสมที่สุด
- 5. การประเมินทางเลือกต่างๆ ตามข้อมูลที่มี
- 4. การหาทางเลือกต่างๆ ที่น่าจะนำไปสู่การแก้ไขปัญหา
- 3. การรวบรวมข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับปัญหานั้นๆ
- 2. การวิเคราะห์สภาพปัญหา
- 1. การรับรู้ปัญหา
- ลักษณะการตัดสินใจ
- 1. การตัดสินใจภายใต้สถานการณ์ที่แน่นอน
- 2. การตัดสินใจภายใต้สถานการณ์ของการเสี่ยง
- 3. การตัดสินใจภายใต้สถานการณ์ที่ไม่แน่นอน