null
US
Sign In
Sign Up for Free
Sign Up
We have detected that Javascript is not enabled in your browser. The dynamic nature of our site means that Javascript must be enabled to function properly. Please read our
terms and conditions
for more information.
Next up
Copy and Edit
You need to log in to complete this action!
Register for Free
3364459
การให้เหตุผลทางคณิตศาสตร์
Description
ผลงานของ นางสาวอุทุมพร ดงหิงษ์ เลขที่22 ชั้นม.4/1 รายวิชาคณิตศาสตร์พื้นฐาน เสนอคุณครูกนกพร นันแก้ว
No tags specified
www.google.com
www.mathbyme.com
www.yahoo.com
Mind Map by
อุทุมพร ดงหิงษ์
, updated more than 1 year ago
More
Less
Created by
อุทุมพร ดงหิงษ์
about 9 years ago
2520
0
1
Resource summary
การให้เหตุผลทางคณิตศาสตร์
ความหมาย
การให้เหตุผล หมายถึง กระบวนการแห่งการหาเหตุผลซึ่งมนุษย์ให้เหตูผลสนับสนุนความเชื่อและเพื่อหาความจริงหรือข้อสรุปในเรื่องที่ต้องการศึกษา
ซึ่งประกอบไปด้วยข้อความ 2 กลุ่ม 1.ข้ออ้าง หรือเหตุ 2.ข้อสรุป หรือ ผล
การให้เหตุผลแบบอุปนัย (lnduetive Reasoning)
การให้เหตุผลแบบอุปนัย คือ วิธีการแสดงผลจากการสังเกตุการทดลองจากกรณีย่อยๆ แล้วนำมาสรุปผลทั่วไป หรือ การให้เหตุผลโดยยึดความจริงส่วนย่อยที่พบเห็นไปสู่ความจริงส่วนใหญ่
ข้อสังเกตุ
1.ข้อสรุปของการให้เหตุผลแบบอุปนัยอาจจะไม่เป็นจริงเสมอไป
2.ข้อสรุปที่ได้จากการอ้างเหตุผลแบบอุปนัยไม่จำเป็นต้องเหมือนกัน
3.ข้อสรุปของการให้เหตุผลแบบอุปนัยอาจผิดพลาดได้
4.การสรุปการให้เหตุผลแบบอุปนัยอาจขึ้นอยู่กับประสบการณ์ของผู้สรุป
ตัวอย่าง
มนุษย์สังเกตพบว่า...ทุกๆวันพระอาทิตย์จะขึ้นทางทิศตะวันออก และตกทางทิศตะวันตก จึงสรุปผลได้ว่า พระอาทิตย์ขึ้นทางทิศตะวันออก และตกทางทิศตะวันตกเสมอ
การให้เหตุผลแบบนิรนัย (Deductive Reasoning)
ข้อสังเกต
ผลสรุปสมเหตุสมผลไม่ได้ประกันว่าข้อสรุปจะต้องเป็นจริงเสมอไป
การให้เหตุผลแบบนิรนัย คือ การนำความรู้พื้นฐาน ความเชื่อ ข้อตกลง กฏ บทนิยามซึ่งเป็นสิ่งที่รู้มาก่อนและยอมรับเป็นจริงเพื่อหาเหตุนำไปสู่ข้อสรุป
ตัวอย่าง
เหตุ 1.เด็กทุกคนชอบเล่นกีฬา 2.ฟุตบอลเป็นกีฬา ผล เด็กทุกคนชอบเล่นกีฬา
เหตุ 1.เรือทุกลำลอยน้ำได้ 2.ถังพลาสติกเป็นเรือ ผล ไม่สมเหตุสมผล
เหตุ 1.เส้นขนานทุกเส้นไม่ติดกัน 2.เส้นตรงp กับเส้นตรงm ขนานกัน ผล เส้นตรงp และเส้นตรงm ไม่ติดกัน
วิธีตรวจสอบว่าผลสรุปสมเหตุสมผล
ตัวอย่าง
เหตุ 1.นักเรียนทุกคนเป็นคนฉลาด 2.หมวยลี่เป็นนักเรียน สรุป สมเหตุสมผล
ใช้แผนภาพ เวนน์-ออยเลอร์ โดยวาดแผนภาพตามเหตุทุกกรณีที่เป็นไปได้เเล้วพิจารณาว่าแผนภาพแต่ละกรณีแสดงผลสรุปตามที่กำหนดให้หรือไม่
ถ้าทุกแผนภาพแสดงผลตามที่กำหนดจะกล่าวว่า ผลสรุปสมเหตุสมผล
ถ้ามีบางแผนภาพไม่แสดงผลตามที่กำหนดให้จะกล่าวว่า ผลสรุปไม่สมเหตุสมผล
Media attachments
2af308b8-ddc0-43b1-b861-218ecc66f5fc (image/jpg)
Show full summary
Hide full summary
Want to create your own
Mind Maps
for
free
with GoConqr?
Learn more
.
Similar
การวางแผนดูแลสุขภาพของตนเองและครอบครัว
plaifa sangsooK
การเจริญเติบโต และ พัฒนาการของมนุษย์
เชาวรัตน์ เเสงกล้า
ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
jomjam buddee
เซต
surasit sadlan
โรคเอดส์
สุพัดชราภรณ์ เสนาจันทร์
หลีกเลี่ยงความรุนแรง
Pawadee Chaiyasa
ตรรกศาสตร์เบื้องต้น
patchara katkong
ระบบเลขฐาน
supaporn somparn
โรคไต
Suwat Singthong
สถิติ
supatharaporn.1524
ระบบจำนวนเต็ม
พรพิมล หมุยเฮบัว
Browse Library